อ่าน โพสต์เพิ่มเติม จากผู้เขียนคนนี้.
ทำไมไม่เรียกเส้นหมี่ว่าเส้นกลาง เปิดที่มาชื่อเส้นก๋วยเตี๋ยวที่หลายคนไม่เคยรู้
โค้ชไฮ้ – ผู้เขียน/ผู้รวบรวมและเรียบเรียง/ผู้แปล
ภาษาศาสตร์: เพื่อแสดงรูปร่างของตัวแบบรูปไข่
หน้าสำหรับผู้แก้ไขที่ออกจากระบบ เรียนรู้เพิ่มเติม ส่วนร่วม
แนะนำติชม แจ้งปัญหาการใช้งานร่วมงานกับเรา
เส้นก๋วยเตี๋ยวของไทยแบ่งได้หลัก ๆ ไม่กี่ประเภท อย่างแรกที่ใช้กันแพร่หลายมากที่สุดคือเส้นก๋วยเตี๋ยวที่ทำจากแป้งข้าวเจ้า แบ่งตามขนาดออกเป็นเส้นใหญ่ เส้นเล็ก และเส้นหมี่ เส้นใหญ่ทำเป็นก๋วยเตี๋ยวน้ำก็อร่อย แต่ที่เด็ดจริง ๆ คือเมื่อนำไปทำก๋วยเตี๋ยวผัด เส้นใหญ่ที่ผัดด้วยไฟแรงจะหอมกระทะและเกรียมนิด ๆ น่ากิน เส้นเล็กและเส้นหมี่ใช้ปรุงทั้งก๋วยเตี๋ยวน้ำและก๋วยเตี๋ยวผัดได้ดีเช่นกัน จะใช้เส้นแบบใดกับก๋วยเตี๋ยวน้ำหรือก๋วยเตี๋ยวผัดนั้นอยู่ที่ความชอบและฝีมือของพ่อครัว สำหรับก๋วยเตี๋ยวน้ำต้องลวกเส้นได้เหนียวนุ่ม ไม่เละ ส่วนก๋วยเตี๋ยวผัดต้องใช้ฝีมือมากกว่า เพราะต้องคั่วเส้นในกระทะเหล็กร้อน ๆ ให้เหลืองหอม
สัญลักษณ์เส้นผ่านศูนย์กลาง (Ø) มีต้นกำเนิดกราฟิกที่แตกต่างกันตั้งแต่การผสมตัวอักษรไปจนถึงการใช้ในภาษาสแกนดิเนเวีย
วิธีพิมพ์สัญลักษณ์เส้นผ่านศูนย์กลางด้วยแป้นพิมพ์
แป้งข้าวเจ้ายังใช้ทำเส้นประเภทอื่น ๆ ได้อีก เส้นกลาง เช่น เส้นกวยจั๊บ เนื้อหนานุ่มและเคี้ยวอร่อย เส้นขนมจีน ที่ดั้งเดิมเป็นอาหารของคนมอญที่อาศัยอยู่ตามแถบชายแดนไทย-เมียนมา ทำจากแป้งหมัก (ปัจจุบันค่อนข้างหายากแล้ว จะเป็นแป้งสดแทน) ผู้ทำจะ “โรยเส้น” ลงในน้ำเดือดเพื่อให้ได้เส้นขนมจีน ช่วยเสริมรสชาติยิ่งขึ้นเมื่อรับประทานกับแกงต่าง ๆ นอกจากนี้ยังมีเส้นบะหมี่ ทำจากแป้งสาลีผสมไข่ วุ้นเส้น ที่นุ่มเหนียวเคี้ยวอร่อย ทำจากแป้งถั่วเขียว อีกทั้งยังมีเส้นบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป หรือเส้นมาม่า คำเรียกง่ายตามประสาชาวไทยแทนคำว่าบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป เมนูจานเด็ดเหล่านี้ทั้งราคาเป็นมิตร อิ่มอร่อย กินง่ายเสร็จเร็ว จึงไม่น่าแปลกใจที่ “ก๋วยเตี๋ยว” จะครองใจนักกินมาอย่างยาวนาน
เกี่ยวกับเรา กระดานความเคลื่อนไหวของชุมชนชาววิกิฮาว สุ่มหน้า หมวดหมู่
วิธีการ คำนวณเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม
วัตถุประสงค์ของข้อมูล: ควบคุมสแปมการจัดการความคิดเห็น
รายชื่อร้านของฉัน แล้วกดที่ "รีวิว" เพื่อเขียนรีวิว ไปที่รายชื่อของฉัน
บทความเกี่ยวข้อง: เปิดสูตรลับร้านอาหาร: ทำผัดไทยอย่างไรให้อร่อยเด็ด